ภาษาไทย ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย

สุนทรภู่ กวีสำคัญสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เกิดวันจันทร์ เดือน 8 ขึ้น 1 ค่ำ ปีมะเมีย จุลศักราช 1148 ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน พศ 2329 ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ บริเวณด้านเหนือของพระราชวังหลัง (บริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อยปัจจุบัน) บิดาเป็นชาวบ้านกล่ํา อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ...
READ MORE +
คำพ้องรูป คือ คือคำที่เขียนเหมือนกัน แต่อ่านออกเสียงต่างกัน และมีความหมายต่างกัน การอ่านคำพ้องรูปให้ถูกต้อง ควรดูข้อความอื่นๆ ประกอบด้วยว่า คำพ้องรูปนั้นหมายถึงอะไร แล้วจึงอ่านให้ถูกต้อง ตัวอย่างตำพ้องรูป ปักเป้า อ่านว่า ปัก-กะ-เป้า หมายถึง ชื่อปลาชนิดหนึ่ง อ่านว่า ปัก-เป้า หมายถึง ...
READ MORE +
พยัญชนะไทย มี 44 ตัว ได้แก่ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ การฝึกออกเสียงพยัญชนะไทย https://youtu.be/-6io600cnvw
READ MORE +
คำไทยแท้ คือ คำศัพท์ที่ใช้อยู่เดิมในภาษาไทย มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ไม่เหมือนใคร แต่เนื่องจากประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ประเทศจีน ญีปุ่น อังกฤษ เขมร มลายู เป็นต้น ผ่านการติดต่อค้าขาย การศึกษา ศาสนา และอื่นๆ ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนกับภาษาไทย ดังนั้น ...
READ MORE +
คำคล้องจอง คือ คำที่มีเสียงสระเดียวกัน หรือ คำที่มีตัวสะกดอยู่ในมาตราเดียวกัน ส่วนรูปและเสียงวรรณยุกต์จะเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้ คำคล้องจองมีทั้ง 1,2 และ 3 พยางค์ ลักษณะของคำคล้องจอง คำคล้องจอง 1 พยางค์ แบบไม่มีตัวสะกด หมายถึง คำ 1 พยางค์ ที่มีสระเหมือนกัน พยัญชนะต้นต่างกัน ...
READ MORE +
ถอดคำประพันธ์โคลงพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต แปลความหมาย สมเด็จพระเจ้าเสือ (สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8) พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้เสด็จไปเที่ยวตกปลาที่ปากน้ำ โดยที่ประทับเรือพระที่นั่งชื่อเอกชัย พอมาถึง ตำบลโคกขาม คลองมีความคดเคี้ยว ทำให้โขนเรือไปค้ำกับกิ่งไม้ ทำให้หักลงไป ...

คำพ้อง คือคำที่มีความเหมือนกันในด้านเสียง รูปเขียน และความหมาย ข้อควรระวังในการอ่าน ควรดูข้อความในประโยคประกอบการอ่านว่า ข้อความเหล่านั้นมีความหมายว่าอย่างไร จะทำให้อ่านได้ถูกต้อง ชนิดของ คำพ้อง คำพ้องเสียง เสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน และความหมายก็ต่างกัน เช่น คำว่า ซ่อม/ส้อม, ข้า/ค่า/ฆ่า, ...

คำอุทาน คือ คำที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคำที่ใช้เสริมคำพูด โดยทั่วไป มักใช้เครื่องหมาย อัศเจรีย์ ! ต่อท้ายคำอุทาน เช่น อุ๊ย! เอ๊ะ! ว๊าย! โธ่! คำอุทาน แบ่งเป็น 2 ชนิด คำอุทานบอกอาการ คือคำอุทานที่แสดงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้พูด ...
READ MORE +
บทร้อยแก้วคือ บทข้อความทั่วๆ ไป ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน โดยต้องเขียนเป็นประโยค ข้อความติดต่อกัน ตามปกติ มีประธาน กริยา กรรม เรียงร้อยข้อความไปตามเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียน ไม่มีสัมผัสเหมือนบทร้อยกรอง ซึ่งถ้าเป็นบทร้อยกรอง จะต้องมีสัมผัสเช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ...

คำนาม คือ คำที่ใช้แทนที่ คน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เช่น คน ปลา ตะกร้า ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพิจิตร การออกกำลังกาย การศึกษา ความดี ซึ่งคำนามนั้น จะมีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ คำนาม มีกี่ชนิด สามานยนาม (คำนามทั่วไป) ...
READ MORE +
โคลงพระสุริโยทัยขาดคอช้าง แต่งด้วยคำประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ จำนวน 6 บท คุณธรรมที่พระสุริโยทัยได้กระทำไว้มีดังนี้ 1. ความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว 2. ความเสียสละ 3. ความกตัญญู โคลงพระสุริโยทัยขาดคอช้าง 6 บท บทที่ 1 บุเรงนองนามราชเจ้า จอรามัญเฮย ...

คำเป็นคำตาย คือ การจำแนกคำตามลักษณะที่ใช้ระยะเวลาออกเสียงต่างกัน ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะทำให้คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นรูปเดียวกัน มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน ตัวอย่างเช่น คา เป็นอักษรต่ำ คำเป็น พื้นเสียง เป็นเสียงสามัญ ส่วน คะ เป็นอักษรต่ำคำตาย เสียงสั้น พื้นเสียงเป็นเสียงตรี คำเป็นคำตาย คำเป็น คือ ...
READ MORE +
คำกริยา คือ คำที่ทำหน้าที่เป็นส่วนหลักของกริยาวลีซึ่งเป็นหัวใจของประโยค คำกริยามี ๒ ประเภท คือ ประเภทที่มีหน่วยกรรมกับประเภทที่ไม่มีหน่วยกรรม คำกริยาประเภทที่มีหน่วยกรรม ได้แก่ คำกริยาสกรรม และคำกริยาทวิกรรม ส่วนคำกริยาประเภทที่ไม่มีหน่วยกรรม ได้แก่ คำกริยาอกรรม คำกริยาคุณศัพท์ ...
READ MORE +
ตัวอย่างโคลงโลกนิติ หลังจากที่เราได้ทราบถึงความหมาย ที่มา แล้ว วันนี้ เรามาดูตัวอย่างโคลงทั้ง 42 บท กันดีกว่า ซึ่งวัตถุประสงค์ในการแต่งก็คือเป็นคดีสอนใจ ตัวอย่างโคลงโลกนิติ ผู้แต่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร รูปแบบ โคลงสี่สุภาพ ...
READ MORE +
คำบุพบท คือ คำที่ใช้เขียนหรือพูดหน้าคำนามหรือคำสรรพนาม เพื่อบอกตำแหน่งเวลา สิ่งที่คาดหวัง ความเป็นเจ้าของ สาเหตุ ผู้รับประโยชน์ เป็นต้น คำบุพบท แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ คำบุพบทไม่เชื่อมกับบทอื่น คือคำบุพบทที่อยู่หน้าคำหรือกลุ่มคำนามและสรรพนาม ...

คำคม หมายถึง ถ้อยคำที่หลักแหลมชวนให้คิด หรือถ้อยคำ ข้อความ ที่มีความหมายอยู่ในตัว ด้วยการกล่าวซ้ำคำบางคำในข้อความนั้นๆ ให้มีความหมาย เกี่ยวพันกับเนื้อหาความเดิม คำคมที่ดีต้องแสดงถึงการใช้ความคิดหรือแสดง ให้เกิดความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่ง อย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความลึกซึ้งเมื่อได้อ่าน ...
READ MORE +
กาพย์ยานี 11 คือคำประพันธ์ชนิดหนึ่งซึ่งมีการกำหนดคณะและสัมผัส บทหนึ่งมี ๒ บาท บาทละ ๑๑ คำ บาทหนึ่งแบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคหน้า ๕ คำ วรรคหลัง ๖ คำ บทหนึ่งจึงมี ๔ วรรค บังคับสัมผัสระหว่างวรรค(สัมผัสนอก)เฉพาะระหว่างวรรคที่ ๑ กับวรรคที่ ๒ และวรรคที่ ๒ กับวรรคที่ ๓ ดังนี้ ...
READ MORE +
การเขียนเรียงความ คืออะไร วันนี้เรามีวิธีเขียน หลักการเขียน รวมทั้งตัวอย่างการเขียนเรียงความที่ถูกต้อง หากเป็นประโยชน์อย่าลืมแชร์ให้เพื่อนๆ ด้วยนะครับ การเขียนเรียงความคือ เรียงความ คือ การนำเอาความรู้ความคิดเห็น ตลอดจนความจำเรื่องราวต่าง ๆ ...

เครื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนประกอบตัวอักษร ตัวเลข คำ วลี ประโยค หรือข้อความ เพื่อสื่อความหมายกับผู้อ่านว่าผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านนั้น อ่านข้อความนั้นอย่างไร วรรค คือ การเว้นระยะระหว่างคำ ข้อความและประโยค เพื่อชี้ให้เห็นชัดว่าต่างคำ ต่างข้อความ และต่างประโยคกัน ...
READ MORE +